วันพุธที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 13

                                บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 13
                วัน พฤหัสบดี ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ 2557




                 การเรียนการการสอนในวันนี้

    อาจารย์ให้นำของเล่นมาจัดหมวดหมู่
             หมวดหมู่ทั้งหมด
           1. จุดศูนย์ถ่วง
           2. แรงดันน้ำ
           3. การเกิดเสียง
           4. พลังงาน
           5.สื่อตามมุม (วิทยาศาสตร์)
  



กิจกรมที่ 2 เป็นการนำเสนอวิจัยทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

 วิจัยที่ 1 เรื่อง การพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปฐมวัย โดยใช้รูปแบบกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้

      การพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 6 ด้าน
        1. การสังเกต 
        2. การจำแนก
        3. การวัด
        4. มิติสัมพันธ์
        5. การสื่อสาร
       6 การลงความเห็น

      รูปแบบศิลปสร้างสรรค์ 6 รูปแบบที่นำมาจัดประสบการณ์

        1. ศิลปะย้ำ
        2. ศิลปะปรับภาพ
        3. ศิลปะเลียนแบบ
        4. ศิลปะถ่ายโยง
        5.ศิลปะบูรณาการ
        6. ศิลปะค้นหา

วิจัยที่ 2  เรื่อง ผลบันทึกประกอบประสบการณ์วิทยาศาสตร์ ที่มีต่อความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย

     มิติสัมพันธ์  ความสามารถในการมองเห็น ความเข้าใจ การจำแนก
     การจัดกิจกรรม  การทดลอง > การสื่่อความหมาย >การวาดภาพระบายสี > การบันทึก

วิจัยที่ 3  เรื่อง ผลของการจัดประสบการณ์โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อพัฒนาทักษะการจำแนกของเด็กปฐมวัย

      พัฒนาทักษะการจำแนก > ความสามารถในการจับกลุ่ม เรียงลำดับ หาความสัมพันธ์ การสอนแบบสือเสาะ

  วิจัยที่ 4  เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ที่ได้รับประสบการณ์จากการใช้กิจกรรมมุ่งเน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และการเล่นตามมุมวิทยาศาสตร์อย่างมีแบบแผน


    อุปกรณ์
    1.ที่ตีไข่
    2. ถ้วยเล็ก 
    3. ช้อน/จาน
    4. เตาทำวาฟเฟิล

    ส่วนผสม
   1. ไข่
   2. น้ำเปล่า
   3. แป้งทำวาฟเฟิล
   4. เนย




                     
ขั้นตอนการทำ
          1. ตอกไข่ลงในชามที่เตรียมไว้ และตีให้เข้ากัน
          2. ใส่เนยแล้วตีให้เข้ากัน 
          3. ใส่แป้งวาฟเฟิลลงไปทีละนิด สลับกับใส่น้ำเปล่าลงไปที่ละนิด ทำจนแป้งหมด และให้เป็นเนื้อเดียวกัน
         4 จากนั้นตักใส่ถ้วยเล็กที่เตรียมไว้ ตามจำนวนคน
         5. นำไปเทลงเตาสำหรับทำวาฟเฟิล แล้วปิดเตาไว้รอจนสุก




                                       
รูปสมาชิกในกลุ่ม มี 8 คน


    การนำไปประยุกต์ใช้   
            1. มีการคำนึงถึงความปลอดภัยของเด็ก
            2. การนำไปเขียนแผนในรอบต่อไป
            3. ทบทวนความรู้เพื่อให้เด็กเกิดการกระตุ้น
            4. การสอนทำ Cooking กับเด็กโดยไม่ใช้เกิดความวุ่นวาย

 ผลการประเมิน   
         ประเมินตนเอง   เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ให้ความร่วมมือให้การทำกิจกรรม และจดบันทึก
        ประเมินเพื่อน   เข้าเรียนตรงเวลา  ตั้งใจเรียนไม่คุย และจดบันทึกเนื้อหาที่สำคัญ
       ประเมินอาจารย์   เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพ มีเทคนิคการสอนเข้าใจง่าย และมีกิจกรรมให้ทำไม่น่าเบื่อ








วันอังคารที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 12

                                  บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 12 
                    วันพฤหัสบดี ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ 2557




                           ในวันนี้มีการสรุปวิจัย ทั้งหมด 7 เรื่อง






         1.  เรื่อง การส่งเสริมทักษะการสังเกต โดยใช้กิจกรรมเกมการศึกษา

        วัตถุประสงค์ของการวิจัย

         1. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการสังเกตสิ่งต่างๆได้ดีขึ้น
          2. เพื่อให้นักเรียนนำทักษะที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

        เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
        เเบบประเมินทักษะการสังเกตการเล่นเกม5เกม
            1. เกมจับคู่ภาพเหมือน
            2. เกมจับคู่ภาพกับเงา
            3. เกมภาพตัดต่อ

         2.  เรื่อง  ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน

      เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
       1. เเผนการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน
       2. แบบทดลองทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์

        3. เรื่อง การศึกษาผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยที่มีทักษะต่อกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

        จุดมุ่งหมาย
      1. เพื่อศึกษาผลของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัยที่ได้รับการเรียนรู้แบบนักวิจัย
      2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย ก่อนทดลองเเละหลังทดลอง

       4. เรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

  ความมุ่งหมายของการวิจัย 
     1. เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติของเด็กปฐมวัยที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
     2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติก่อนและหลังการทดลอง
 ครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
    1 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติ 
    2 แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์                        

 ทักษะที่เด็กได้รับ 
    >> ทักษะการสัเกต
    >>ทักษะการจำแนก
    >> ทักษะมิติสัมพันธ์
    >> ทักษะการลงความเห็น

     5. เรื่อง  กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์แบบเน้นกระบวนการ

    เครื่องที่ใช้ในการวิจัย
       1. แผนในการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ 40 แผน
       2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาตร์ 
            - ทดสอบการวัดการสังเกต
            - การจำเเนก 
            - การวัดปริมาณ  
            - การหามิติสัมพันธ์ 
            - การลงความเห็น

       6. เรื่อง  การคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร

     ทักษะที่ได้รับ 
        - ทักษะการฟัง 
        - ทักษะการสังเกต
        - ทักษะการคิดแก้ปัญหา
        - ทักาะการใช้เหตุผล

       สรุป  เด็กปฐมวัยมีการคิดวิจารณญาณทั้งในภาพรวมและรายด้าน สูงขึ้นกว่าก่อนจัดกิจกรรม

       7. เรื่อง การคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 

   จุดมุ่งหมาย
        เพื่อเปรียบเทียบความสามารถการคิดอย่างมีเหตุผล ของเด้กปฐมวัย ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ดดยการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

   เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
     1. แผนการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์
     2. แบบทดสอบวัดความสามารถการคิดอย่างมีเหตุผล จำนวน 50 ข้อ

 การนำไปประยุกต์ใช้
    1. การตั้งคำถามปลายเปิดให้กับเด็กในการตอบคำถาม            
    2.จัดกิจกรรมที่บูรณาการได้หลากหลายวิชา
    3. นำเรื่องใกล้ตัวมาจัดกิจกรรมให้เด็กได้
    4. นำวิจัยไปเป็นแบบอย่างในการทำวิจัยเรื่องต่อไป

  ผลการประเมิน
     ประเมินตนเอง  เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย  จดบันทึกเนื้อหาวิจัย และตั้งใจฟังอาจารย์อธิบาย มีการตอบคำถามบ้างในบางช่วงที่อาจารย์ถาม
                  ประเมินเพื่อน   เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังอาจารย์สอนและจดบันทึกตาม
                  ประเมินอาจารย์   เข้าสอนตรงเวลา  แต่งกายสุภาพ มีการอธิบายเนื้อหาที่จะเรียนได้ละเอียดและเข้าใจง่าย

   







บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 11

                                   บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 11
                        วัน พฤหัสที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ 2557

        วันนี้เป็นการนำเสนอ การสอนแผนการเรียนของแต่ละกลุ่ม มีทั้งหมด 10 กลุ่ม ดังนี้

กลุ่มที่ 1 เรื่อง กล้วย  (ชนิดของกล้วย) 

  ขั้นนำ   นำด้วยการร้องเพลงเกี่ยวกับกล้วย 

                เพลง กล้วยหวาน หวาน
      กล้วยหวาน หวาน   มีหลากหลายนานา
     ใครบอกครูได้หนาว่ามีกล้วยอะไร ?

      เป็นการเชื่อมโยงความรู้เดิมของเด็ก
 ขั้นสอน   ครูนำภาพกล้วยมาให้เด็กดู แล้วถามว่ากล้วยที่เห็นนั้น ชื่อกล้วยอะไร และให้เด็กตอบ
 ขั้นสรุป   ครูนำภาพกล้วยมาทบทวนอีกรอบ เพื่อย้ำการจำ ของกล้วยแต่ละชนิด


                                     

กลุ่มที่ 2 เรื่อง ไก่ (ลักษณะของไก่)

         ครูนำภาพไก่มาให้เด็กสังเกตลักษณะว่ามีสีอะไร มีขนาดยังไง หรือจะโดยใช้สื่อให้เด็ก
ทาย ว่าภาพปริศนานั้น เป็นภาพไก่อะไร 




  
                                     

กลุ่มที่ 3 เรื่อง วัฏจักรของกบ

         เป็นการเปิดวีดีโอ เกี่ยวกับวัฏจักรของกบให้เรียนรู้ และหลังจากนั้นจะมีการทบทวนเด็ก 
โดยการถามโดยใช้คำถามปลายเเก่เด็ก อย่างเช่น กบมีสีอะไร มีที่อยู่อาศัยยังไง กบจำศิลช่วงไหน






                                       

กลุ่มที่ 4 เรื่อง ประโยชน์ และข้อควรพึงระวังของปลา

           เป็นการเล่านิทานเกี่ยวกับประโยชน์และข้อควรพึ่งระวังของปลา และมีการถามคำถาม
กับเด็กๆ แทรกไปด้วย นำตารางมาเปรียบเทียบประโยชน์ของปลาและข้อพึงระวัง  ว่าปลาในนิทานมีปลาอะไรบ้างที่มีประโยชน์และปลาที่ควรระวัง แล้วให้เด็กออกมาทำกิจกรรมที่ครูเตรียมไว้ให้หน้าชั้นเรียน หลังจากที่ได้อธิบาย ข้อตกลงในการทำกิจกรรมเสร็จแล้ว





                                     

กลุ่มที่ 5 เรื่อง ทาโกยากิ จากข้าว

          ครูเตรียมอุปกรณ์ไว้ครบเรียบร้อยบนโต๊ะ และจากนั้น เป็นการใช้คำถามกับเด็กว่อุปกรณ์บนโต๊ะนั้นมีชื่อว่าอะไรบ้าง แล้วนำเข้าสู่บทเรียน ครูสาธิตการทำอาหาร แล้วขอตัวแทนออกมาช่วยครู แล้วหลังจากทำกิจกรรมเสร็จ ครูถามเด็กว่าข้าวสามารถนำไปทำอาหารไรได้อีกบ้างนอกจากเป็นข้าวที่สุกแล้ว แล้วให้เด็กตอบ




                                                
                                     

กลุ่มที่ 6 ต้นไม้ (ชนิดของต้นไม้)

          ครูพูดกลอน หรือคำคล้องจอง ที่เกี่ยวกับชนิดของต้นไม้ แล้วทบทวนเด็กด้วยการถามเด็กว่า ในกลอนหรือ คำคล้องจอง มีต้นไม้อะไรบ้าง  และถามเด็กๆ ว่า นอกจากนี้ ยังรู้จักต้นไม้
อะไรอีก แล้วให้เด็กตอบ




                          

กลุ่มที่ 7  ลักษณะของนม

          ครูร้องเพลงดื่มนม และเตรียมอุปกรณ์ในการทำการทดลองให้เด็กดู แล้วถามเด็กๆ ว่า
อุปกรณ์บนโต๊ะมีอะไรบ้าง จากนั้นลงมือ ทำการทดลองให้เด็กดูและสังเกต การทดลอง นั้นเป็นการทดลอง สีผสมอาหารหยดลงไปในนม แล้วนำน้ำยาล้างจานหยดลงไป ผลที่ออกมา
น้ำยาล้างจานกับนมเกิดฟอง และนมก็จะเปลี่ยนสีตามสีผสมอาหาร




                               

กลุ่มที่ 8 อนุรักษ์น้ำ
   
          ครูร้องเพลง อย่าทิ้ง ก่อนนำเข้าสู่บทเรียน จากนั้นก็เล่านิทานที่เนื้อเรื่องเกี่ยวกับการ
อนุรักษ์น้ำ อนุรักษ์ธรรมชาติ เมื่อเล่าเสร็จ มีกิจกรรมศิลปะให้เด็กทำ






                                    

กลุ่มที่ 9  การปลูกมะพร้าว

                 นำ เพลง / นิทาน มา หรือใช้ภาพเกี่ยวกับการปลูกมะพร้าว ครูจะให้เด็กแสดงความ
คิดของตัวเอง อย่างเช่นครูถามว่า  ต้นมะพร้าวปลูกได้ที่ได้บ้าง  และจากนั้นนำแผนภาพการ
ปลูกต้นมะพร้าว และการดูแลรักษา






                             

กลุ่มที่ 10  ผลไม้ผัดเนย

   ครูร้องเพลง ตรงไหมจ๊ะ  ครูเตรียมอุปกรณ์การทำกิจกรรมให้กับเด็กๆ และขอตัวแทนออกมา
หนึ่งคนมาช่วยครูหยิบจัด และให้เด็กสังเกตการเปลี่ยนแปลงสีของผลไม้






                                


      การนำไปประยุกต์ใช้

       1 ควรตั้งคำถามปลายเปิดให้แก่เด็ก เพื่อให้เด็กเกิดการคิด
       2 สามารถจัดประสบการณ์ให้เด็กได้เรียนรูุ้
       3 การทำกิจกรรมควรคำนึงถึงความปลอดภัยด้วย
       4 นำไปเป็นแผนการเรียนให้กับเด็กได้ในแต่ละหน่วยได้
         ผลการประเมิน

        ประเมอนตนเอง  เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมร่วมกันในห้อง และจดบันทึก
        ประเมินเพื่อน   เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนและจดบันทึก มีการตอบคำถามของอาจารย์ และให้ความร่วมมือทำกิจกรรม
        ประเมินอาจารย์   เข้าสอนตรงเวลา มีเทคนิคการสอนที่ไม่น่าเบื่อ ในการสอนจะมีคำถามสอดแทรก เพื่อให้เกิดการคิด