วันจันทร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15

                         บันทึกอนุทินครั้งที่ 15
                วันพฤหัสบดี ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2557
 


 วันนี้อาจารย์ให้เเบ่งกลุ่มทำแผ่นพับ ถึงผู้ปกครอง
   อุปกรณ์ >> กระดาษ A4
   วิธีทำ >>       1 พับกระดาษให้เป็นสามส่วน
               2 ด้านนอกหน้าปกมีเนื้อหา ดังนี้
                 - สัญลักณ์โรงเรียน
                 - ชื่อโรงเรียน
                 - ชื่อหน่วย
                 - วาดรูปหน่วยที่จะนำไปสอน
                 - ชื่อนักเรียน
                 - ชื่อคุณครูประจำชั้น
               3 ส่วนด้านใน
                 - เกี่ยวกับข่าวประชาสัมพันธ์
                 - วัตถุประสงค์
                 - สาระที่ควรเรียนรู้
                 - ขอความร่วมมือถึงผู้ปกครอง
                 - สื่อการใช้จัดกิจกรรม
               4 ด้านนอก
                 - เกมชวนคิด ในหน่วยที่เราจะทำการสอน









  การนำความรู้ไปใช้ 

   1 สามารถนำความรู้ในแผ่นพับไปให้ความรู้กับผู้ปกครองได้
   2 สามารถนำแนวทางในการประสานงานถึงผู้ปกครองไปใช้ในกิจกรรมอื่นได้
   3 ผู้ปกครองจะเข้าใจเนื้อหาได้ง่ายขึ้น

ประเมินผลการเรียนการสอน 

  ประเมินตนเอง   เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนและฟังเมื่ออาจารย์อธิบายและให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมร่วมกันเป็นกลุ่ม

  ประเมินเพื่อน  แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนและให้ความร่วมมือในการทำงานกันเป็นกลุ่ม และมีการถามอาจารย์ตรงที่ไม่เข้าใจ

  ประเมินอาจารย์  เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพ มีเนื้อหาในการอธิบายให้เข้าใจง่าย และมีการเดินตรงงานนักศึกษาแต่ละกลุม


     





บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 14

                                      บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 14
                       วันพฤหัสบดี ที่ 27 พฤศจิกายน พศ 2557


การนำเสนอวิจัย   

1. วิจัยเรื่อง ผลของกิจกรรมการทดลองที่มีผลต่อทักษะทางวิทยาศาสตร์ ด้านการสังเกต 
และการจำเเนกของเด็กปฐมวัย

ทักษะวิทยาสาสตร์ที่ได้รับ
  1.  การสังเกต
  2. การจำเเนก
  3.  การเเบ่งปริมาตร
  4.  การสื่อความหมาย
  5.  การหามิติสัมพันธ์
2. วิจัยเรื่อง การคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรทักษะพื้นฐานทางวิทยาศตร์
ทักษะวิทยาศสตร์
  1.  การจำเเนกประเภท
  2.  การจัดประเภท
  3.  อนุกรม 
3วิจัยเรื่อง ผลการจัดประสบการณ์ หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์ นอกชั้นเรียนที่มีต่อทักษะการสังเกตของเด็กปฐมวัย

ทักษะวิทยาศาสตร์
  1.  การสังเกต
  2.  การประมาณ
  3.  การเปลี่ยนเเปลง


การนำเสนอโทรทัศน์ครู

1 จุดประกายนักวิทยาศาสตร์น้อย
2 สอนวิทย์ คิดสนุก กับเด็กปฐมวัย
3 อนุบาล 3 เรียนวิทยาศาสตร์สนุก
4 กิจกรรมเรือสะเทินน้ำสะเทินบกและจรวจ
5 ขวดปั้มและลิฟเทียน
6 สื่แแสงแสนสนุก
7 พลังจิตคิดไม่ซื่อ
8 ทะเลฟองสีรุ้ง
9 บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
10 ความลับของใบบัว
11 สนุกวิทย์ คิดทดลอง ไข่ในน้ำ
12 สาดสีสุดสนุก

การนำความรู้ไปใช้   

1 สามารถนำเนื้อหาในงานวิจัยหรือโทรทัศน์ไปเป็นแบบการเรียนได้
2 สามารถนำไปจัดประสบการ์ การเรียนรู้ได้
3 สามารถนำไปเป็นตัวอย่างในการทำวิจัยได้ต่อไป
   ประเมินการเรียนการสอน  

ประเมินตนเอง   เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย มีวินัยในการเรียน ตั้งใจเรียนจดบันทึกเนื้อหาในขณะครูอธิบายและเมื่อเพื่อนนำเสนอ

ประเมินเพื่อน    เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนและตั้งใจฟังในขณะที่อาจารย์อธิบายและเมื่อเพื่อนนำเสนองานอยู่

ประเมินอาจารย์   เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย มีเนื้อหาในการสอนที่น่าสนใจและมีการใช้คำถามปลายเปิดในการถามนักศึกษา






วันพุธที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 13

                                บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 13
                วัน พฤหัสบดี ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ 2557




                 การเรียนการการสอนในวันนี้

    อาจารย์ให้นำของเล่นมาจัดหมวดหมู่
             หมวดหมู่ทั้งหมด
           1. จุดศูนย์ถ่วง
           2. แรงดันน้ำ
           3. การเกิดเสียง
           4. พลังงาน
           5.สื่อตามมุม (วิทยาศาสตร์)
  



กิจกรมที่ 2 เป็นการนำเสนอวิจัยทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

 วิจัยที่ 1 เรื่อง การพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปฐมวัย โดยใช้รูปแบบกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้

      การพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 6 ด้าน
        1. การสังเกต 
        2. การจำแนก
        3. การวัด
        4. มิติสัมพันธ์
        5. การสื่อสาร
       6 การลงความเห็น

      รูปแบบศิลปสร้างสรรค์ 6 รูปแบบที่นำมาจัดประสบการณ์

        1. ศิลปะย้ำ
        2. ศิลปะปรับภาพ
        3. ศิลปะเลียนแบบ
        4. ศิลปะถ่ายโยง
        5.ศิลปะบูรณาการ
        6. ศิลปะค้นหา

วิจัยที่ 2  เรื่อง ผลบันทึกประกอบประสบการณ์วิทยาศาสตร์ ที่มีต่อความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย

     มิติสัมพันธ์  ความสามารถในการมองเห็น ความเข้าใจ การจำแนก
     การจัดกิจกรรม  การทดลอง > การสื่่อความหมาย >การวาดภาพระบายสี > การบันทึก

วิจัยที่ 3  เรื่อง ผลของการจัดประสบการณ์โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อพัฒนาทักษะการจำแนกของเด็กปฐมวัย

      พัฒนาทักษะการจำแนก > ความสามารถในการจับกลุ่ม เรียงลำดับ หาความสัมพันธ์ การสอนแบบสือเสาะ

  วิจัยที่ 4  เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ที่ได้รับประสบการณ์จากการใช้กิจกรรมมุ่งเน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และการเล่นตามมุมวิทยาศาสตร์อย่างมีแบบแผน


    อุปกรณ์
    1.ที่ตีไข่
    2. ถ้วยเล็ก 
    3. ช้อน/จาน
    4. เตาทำวาฟเฟิล

    ส่วนผสม
   1. ไข่
   2. น้ำเปล่า
   3. แป้งทำวาฟเฟิล
   4. เนย




                     
ขั้นตอนการทำ
          1. ตอกไข่ลงในชามที่เตรียมไว้ และตีให้เข้ากัน
          2. ใส่เนยแล้วตีให้เข้ากัน 
          3. ใส่แป้งวาฟเฟิลลงไปทีละนิด สลับกับใส่น้ำเปล่าลงไปที่ละนิด ทำจนแป้งหมด และให้เป็นเนื้อเดียวกัน
         4 จากนั้นตักใส่ถ้วยเล็กที่เตรียมไว้ ตามจำนวนคน
         5. นำไปเทลงเตาสำหรับทำวาฟเฟิล แล้วปิดเตาไว้รอจนสุก




                                       
รูปสมาชิกในกลุ่ม มี 8 คน


    การนำไปประยุกต์ใช้   
            1. มีการคำนึงถึงความปลอดภัยของเด็ก
            2. การนำไปเขียนแผนในรอบต่อไป
            3. ทบทวนความรู้เพื่อให้เด็กเกิดการกระตุ้น
            4. การสอนทำ Cooking กับเด็กโดยไม่ใช้เกิดความวุ่นวาย

 ผลการประเมิน   
         ประเมินตนเอง   เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ให้ความร่วมมือให้การทำกิจกรรม และจดบันทึก
        ประเมินเพื่อน   เข้าเรียนตรงเวลา  ตั้งใจเรียนไม่คุย และจดบันทึกเนื้อหาที่สำคัญ
       ประเมินอาจารย์   เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพ มีเทคนิคการสอนเข้าใจง่าย และมีกิจกรรมให้ทำไม่น่าเบื่อ